ประเพณีนอนหาดชาวมอแกลนหินลูกเดียว

ในคืนสุดท้าย คือ ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3 (ตรงกับวันมาฆบูชา) โต๊ะหมอจะทำพิธีบูชาวิญญาณบรรพบุรุษที่ศาลโต๊ะหินลูกเดียว โดยจะเริ่มพิธีช่วงหัวค่ำ โต๊ะหมอผู้ประกอบพิธีจะเริ่มตั้งแต่ การนำอาหารมาสักการะ การดูเปลวเทียนเสี่ยงทาย ตลอดถึงการเข้าทรงเพื่อสื่อสารกับบรรพบุรุษ…

ประเพณีนอนหาดชาวมอแกลนหินลูกเดียว Read More / อ่านเพิ่ม

ชาวมอแกลนยังคงรักษาดนตรีและเพลงร้องอยู่บ้างหรือไม่

เพลงตันหยงของชาวมอแกลนก็สะท้อนให้เห็นว่ามีการติดต่อสื่อสาร ปฏิสัมพันธ์ แลกเปลี่ยนกับชุมชนมุสลิมที่มีเพลงตันหยง รูปแบบของเพลงก็คล้ายกัน …

ชาวมอแกลนยังคงรักษาดนตรีและเพลงร้องอยู่บ้างหรือไม่ Read More / อ่านเพิ่ม

ด้านเหนือสุดและด้านใต้สุดที่พบชุมชนมอแกลน

บริเวณทิศใต้และตะวันออกของเกาะเป็นป่าชายเลนผืนใหญ่ มีเครือข่ายคลองอยู่มากมายที่ชาวมอแกลนเข้ามาใช้ประโยชน์เก็บหาสัตว์ทะเลและประมงพื้นบ้าน และในบางพื้นที่มีการทำไร่หมุนเวียน…

ด้านเหนือสุดและด้านใต้สุดที่พบชุมชนมอแกลน Read More / อ่านเพิ่ม

ถ้วยกระเบื้องเคลือบที่แขวนตามฝาบ้านชาวมอแกลนคืออะไร

มีการตั้งของเซ่นไหว้คือข้าวหลาม 1 กระบอก แกงที่ทำจากเนื้อเต่าบก ไก่ 1 ตัว เหล้า 1 ขวด ขนม หมาก พลู ธูป เทียน เมื่อเตรียมของเซ่นไหว้แล้ว ผู้เฒ่าก็นำถ้วยใบเล็กมาวางด้านล่างแคร่ ฉีกไก่และ นำของต่าง ๆ ที่เตรียมอย่างละนิดหน่อยใส่ในถ้วยนั้น…

ถ้วยกระเบื้องเคลือบที่แขวนตามฝาบ้านชาวมอแกลนคืออะไร Read More / อ่านเพิ่ม

ชาวมอแกลนยังมีนิทานหรือตำานานเก่า ๆ เหลืออยู่บ้างหรือไม่?

กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว หลังเกิดภัยพิบัติมีแผ่นดินผุดขึ้นมาจากทะเล ชาวมอแกลนเรียกเกาะแห่งใหม่นี้ว่า “บุโล่ย”หรือที่แปลว่า “เหา” …

ชาวมอแกลนยังมีนิทานหรือตำานานเก่า ๆ เหลืออยู่บ้างหรือไม่? Read More / อ่านเพิ่ม

เกาะพระทอง ความสำคัญในแง่มุมของชาติพันธุ์สัมพันธ์

ชื่อหมู่บ้านท่าแป๊ะโย้ยบนเกาะพระทองก็ชี้ชัดว่าเริ่มมีการตั้งชุมชนถาวรโดยคนจีน แต่คาดกันว่าบริเวณนี้เป็นแหล่งทำมาหากิน จอดเรือ พักพิงอาศัยของชาวเลกลุ่มมอแกนและมอแกลนมาเป็นเวลานานแล้ว…

เกาะพระทอง ความสำคัญในแง่มุมของชาติพันธุ์สัมพันธ์ Read More / อ่านเพิ่ม

ชาวมอแกลนสมัยก่อน

พ่อของตาเงาะเป็นคนจีน แม่เป็นมอแกลน สมัยนั้นมีการปฏิสัมพันธ์และการแต่งงานระหว่างกลุ่มอยู่บ้าง ตาเงาะเกิดที่บ้านเหนือหรือที่ปัจจุบันเรียกกันว่าบ้านหินลูกเดียว…

ชาวมอแกลนสมัยก่อน Read More / อ่านเพิ่ม

ร่องรอยแร่

ระนอง และภูเก็ต พื้นที่ทำเหมืองแร่ในอดีต คนที่นั่นเคยมีอาชีพเกี่ยวข้องกับการทำเหมืองมายาวนาน ปัจจุบันสถานการณ์เปลี่ยนไป เหมืองแร่ในวันวาน

ร่องรอยแร่ Read More / อ่านเพิ่ม