บ้านดั้งเดิมของชาวมอแกน
ชาวมอแกนนิยมปลูกบ้านอยู่ริมหาด เนื่องจากสามารถสังเกตเรือของตนเอง และเรือที่แล่นเข้ามาในอ่าว
ได้สะดวก นอกจากนี้ ในช่วงเวลาน้ำขึ้น สามารถผูกเรือไว้กับเสาบ้าน การเดินขึ้นลงเรือสามารถทำได้
จากบ้านของตนเอง….
เชิญให้อ่าน สาระข้อมูล อยากให้ดูเรื่องราวในบางด้าน เอาลองดู
เรื่องราวชาวเลกลุ่มชาติพันธุ์แห่งท้องทะเลอันดามัน
ชาวมอแกนนิยมปลูกบ้านอยู่ริมหาด เนื่องจากสามารถสังเกตเรือของตนเอง และเรือที่แล่นเข้ามาในอ่าว
ได้สะดวก นอกจากนี้ ในช่วงเวลาน้ำขึ้น สามารถผูกเรือไว้กับเสาบ้าน การเดินขึ้นลงเรือสามารถทำได้
จากบ้านของตนเอง….
มีหลายคนสงสัยว่าชาว “มอแกน” เป็นกลุ่มเดียวกันกับชาว “มานิ” หรือที่รู้จักกันในชื่อของซาไกหรือไม่
ชาวมอแกนกับชาวมานิมีลักษณะทางกายภาพต่างกัน
ช้างน้ำ เป็นนามสกุลที่แพร่หลายในกลุ่มอูรักลาโว้ย เกาะลันตาและเกาะจำ อำเภอเมือง จังหวัดกระบี่ สะท้อนให้เห็นถึงความแข็งแรงและความสามารถด้านทะเล
ชาวเลใช้นามสกุลอะไรบ้าง Read More / อ่านเพิ่มชาวมอแกนบางส่วนที่เกาะสุรินทร์
จังหวัดพังงาได้รับสัญชาติไทยและถือบัตรประชาชนไทย ในขณะที่ส่วนใหญ่ถือบัตรผู้ไม่มีสถานะทางทะเบียนราษฎร์
หรือที่เรียกกันอย่างไม่เป็นทางการว่า “บัตรเลขศูนย์”…
ชาวอูรักลาโว้ยนับเป็นชาวเลกลุ่มที่มีความหลากหลายทางศาสนามากที่สุดในขณะที่ชาวมอแกนส่วนใหญ่
นับถือวิญญาณนิยม (animism) โดยนับถือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ วิญญาณบรรพบุรุษ วิญญาณในธรรมชาติ…
ยังมีชนเผ่าทางทะเลอยู่หลายกลุ่มกระจายอยู่ในหลายประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในสหพันธรัฐมาเลเซียมีกลุ่มคนที่เรียกว่าโอรังลาอุต(OrangLaut) ในประเทศอินโดนีเซียและประเทศฟิลิปปินส์มีกลุ่มคนที่เรียกว่าบาเจา (Bajau)
นอกจากชาวเลสามกลุ่มในประเทศไทยแล้วมีคำกล่าวที่ว่าเด็กชาวเลว่ายน้ำเป็นก่อนที่จะเดินเป็นเสียอีก
ด้วยวิถีเช่นนี้ชาวเลได้สั่งสมภูมิปัญญาเกี่ยวกับทะเลและป่าบนเกาะที่ทำให้ชาวเลทั้งสามกลุ่มดำรงชีพ
ด้วยการพึ่งพาทรัพยากรชายฝั่งโดยที่ไม่ได้ส่งผลกระทบต่อทรัพยากร
หากถูกใครเรียกว่า ชาวน้ำ ก็จะรู้สึก
ไม่พอใจ ถือเป็นคำที่ดูถูกดูแคลนมาก เพราะทำให้ชาวเลกลายเป็นกลุ่มที่แปลกแยกออกไปจากกลุ่มชนอื่น
ทั้งที่ทุกคนทุกเผ่าพันธุ์ก็เกิดจากน้ำเหมือนกันทั้งนั้น คำนี้จึงไม่นิยมใช้กันในปัจจุบัน
คำเรียกชื่อชาวเลกลุ่มอื่นๆ
ที่แตกต่างไปจากกลุ่มของตนเหล่านี้สะท้อนให้เห็นถึงทั้งการติดต่อสัมพันธ์และความเข้าใจคนกลุ่มต่างๆ
ชาวมอแกน มอแกลน และอูรักลาโว้ยเรียกคนไทยว่า แชม ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่าชาวเลทั้งสามกลุ่ม
มีความคุ้นเคยและติดต่อพบปะกับคนเชื้อสายไทยที่อยู่บริเวณนี้มาตั้งแต่ยังเรียกดินแดนและผู้คนบริเวณนี้ว่า
“เสียม” หรือ “สยาม”…..
ชาวอูรักลาโว้ยน่าจะเป็นผู้คนที่ร่วมเชื้อสายกับชาว “โอรัง ลาอุต” หรือ Orang Laut ชาวทะเลที่เคย
เป็นผู้ร่วมก่อร่างสร้างความยิ่งใหญ่ให้แก่อาณาจักรมะละกาในสมัยกษัตริย์ปรเมศวร