ลอบดักปลาของชาวอูรักลาโว้ยมีขนาดใหญ่

นักท่องเที่ยวดำน้ำลงไปเห็นลอบดักปลาขนาดใหญ่ใต้ทะเล บางคนก็เปิดประตูปล่อยปลาในลอบ หรือตัดไซหรือทำลายลอบ ด้วยคิดว่าจะเป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเล แต่อันที่จริงแล้วกลับกลายเป็นการบีบให้ชาวอูรักลาโว้ยที่ทำมาหากินด้วยความสุจริตเผชิญกับความยากลำบากยิ่งขึ้น…

ลอบดักปลาของชาวอูรักลาโว้ยมีขนาดใหญ่ Read More / อ่านเพิ่ม

เกาะพระทอง ความสำคัญในแง่มุมของชาติพันธุ์สัมพันธ์

ชื่อหมู่บ้านท่าแป๊ะโย้ยบนเกาะพระทองก็ชี้ชัดว่าเริ่มมีการตั้งชุมชนถาวรโดยคนจีน แต่คาดกันว่าบริเวณนี้เป็นแหล่งทำมาหากิน จอดเรือ พักพิงอาศัยของชาวเลกลุ่มมอแกนและมอแกลนมาเป็นเวลานานแล้ว…

เกาะพระทอง ความสำคัญในแง่มุมของชาติพันธุ์สัมพันธ์ Read More / อ่านเพิ่ม

ชาวมอแกนคาดคะเนลมฟ้าอากาศได้อย่างไร

เนื่องจากบรรพบุรุษของพวกเขาเป็นนักเดินทางในทะเลและสั่งสมความรู้มาอย่างยาวนาน ในช่วงฤดูฝน ชาวมอแกนสามารถคาดคะเนได้ว่าพายุจะมาเมื่อใดโดยการสังเกตลักษณะของก้อนเมฆ น้ำทะเล และทิศทางของลม..

ชาวมอแกนคาดคะเนลมฟ้าอากาศได้อย่างไร Read More / อ่านเพิ่ม

ชื่อชาวมอแกนมีความหมายอะไรบ้าง

ชาวมอแกนรุ่นใหม่นิยมตั้งชื่อลูกเป็นภาษาไทย เพื่อไม่ให้
รู้สึกว่ามีชื่อที่เชยหรือมีชื่อเรียกที่แปลกหูแตกต่างไปจากคนอื่นทั่วไป และไม่ต้องการให้ลูกหลานถูกล้อเลียนหรือ
ดูถูกจากคนภายนอก..

ชื่อชาวมอแกนมีความหมายอะไรบ้าง Read More / อ่านเพิ่ม

เขตวัฒนธรรมพิเศษ หรือ เขตคุ้มครองทางวัฒนธรรมชาวเล

เราก็มีกฎระเบียบเพื่อ “เขตพิเศษ” ทางสิ่งแวดล้อม
อาทิ เขตคุ้มครองสิ่งแวดล้อม อุทยานแห่งชาติ วนอุทยาน เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พื้นที่มรดกโลกทางธรรมชาติ
ฯลฯ แต่ทำไมเราจึงมืดบอดต่อการทำนุบำรุงและฟื้นฟูวัฒนธรรมที่กำลังจะเสื่อมถอยลง?

เขตวัฒนธรรมพิเศษ หรือ เขตคุ้มครองทางวัฒนธรรมชาวเล Read More / อ่านเพิ่ม

ทำไมจึงเรียกเกาะลันตาว่าเป็นเมืองหลวงของชาวอูรักลาโว้ย

บนเกาะลันตาแห่งนี้เคยถูกขนานนามว่าเป็นเมืองหลวงของชาวอูรักลาโว้ยในเขตน่าน้ำไทย
เลยทีเดียว ด้วยว่าในอดีตเคยมีชาวอูรักลาโว้ยอาศัยอยู่รวมกันเป็นชุมชนใหญ่ประมาณ 40-50 ครัวเรือน
โดยมีร่องรอยหลักฐานที่บ่งบอกว่า ชาวเลกลุ่มที่เรียกตัวเองว่า “อูรักลาโว้ย” อพยพเข้ามาอาศัยตามหมู่เกาะต่าง ๆ
ในแถบทะเลอันดามันมาเป็นเวลานานดังปรากฏให้เห็นจากสุสานโบราณ ศาลเคารพเก่าแก่ ตำนานความเชื่อ
เกี่ยวกับสถานที่ และชื่อสถานที่ต่าง ๆ บริเวณหมู่เกาะโดยรอบที่เป็นภาษาอูรักลาโว้ย..

ทำไมจึงเรียกเกาะลันตาว่าเป็นเมืองหลวงของชาวอูรักลาโว้ย Read More / อ่านเพิ่ม

บทเพลงของชาวเล

บทเพลงของชาวอูรักลาโว้ย แถบฝั่งทะเลอันดามัน มักใช้ในงานรื่นเริง และ งานประกอบพิธีกรรม ต่าง ๆ เช่น ประเพณีลอยเรือ ประเพณีอาบน้ำมนต์ ประเพณีไหว้ครูมวยปัจจะสีละ เป็นต้น ปัจจุบันการสืบสานด้านนี้เริ่มลดน้อยลง

บทเพลงของชาวเล Read More / อ่านเพิ่ม

ชาวมอแกลนสมัยก่อน

พ่อของตาเงาะเป็นคนจีน แม่เป็นมอแกลน สมัยนั้นมีการปฏิสัมพันธ์และการแต่งงานระหว่างกลุ่มอยู่บ้าง ตาเงาะเกิดที่บ้านเหนือหรือที่ปัจจุบันเรียกกันว่าบ้านหินลูกเดียว…

ชาวมอแกลนสมัยก่อน Read More / อ่านเพิ่ม

ชาวอูรักลาโว้ยเคยปลูกข้าว

ผู้อาวุโสชาวอูรักลาโว้ยหลายคนจำได้ว่าข้าวที่ปลูกไว้ก็ทำต่อไม่ได้ต้อง
ปล่อยให้ยืนต้นตายไป ผู้คนก็แยกย้ายกระจัดกระจายหนีภัยสงคราม ….

ชาวอูรักลาโว้ยเคยปลูกข้าว Read More / อ่านเพิ่ม

ชาวอูรักลาโว้ย กับสงครามโลกครั้งที่ 2

ชาวมอแกลนผู้หนึ่งมีชื่อที่พ่อแม่ตั้งขึ้นเพื่อระลึกถึงการเข้ามาของทหารญี่ปุ่น ลุง“มาปุ้น” หรือ“นายญี่ปุ่น
ตันเก” เกิดที่บ้านเหนือ (บ้านหินลูกเดียว) ในจังหวัดภูเก็ต….

ชาวอูรักลาโว้ย กับสงครามโลกครั้งที่ 2 Read More / อ่านเพิ่ม