ทำไมเรือ “ก่าบาง” เรือดั้งเดิมของชาวมอแกนจึงค่อย ๆ หายไป

เรือมอแกนมีวิวัฒนาการมาตั้งแต่เรือขุดเสริมกราบด้วยไม้ระกำ ที่เคลื่อนที่ด้วยแรงลมและแรงคน ต่อมาชาวมอแกนเลิกใช้ไม้ระกำเสริมกราบเรือเพราะไม้ระกำเหล่านี้ มีอายุใช้งานเพียง 6 เดือนเท่านั้น ชาวมอแกนจึงหันมาใช้ไม้กระดานเสริมกราบเนื่องจากมีความคงทน ใช้ได้นานหลายปี …

ทำไมเรือ “ก่าบาง” เรือดั้งเดิมของชาวมอแกนจึงค่อย ๆ หายไป Read More / อ่านเพิ่ม

มีคนกลุ่มอื่นในประเทศไทยที่เคยมีวิถีเก็บหาแบบดั้งเดิมแบบชาวเลหรือไม่?

ในประเทศไทยของเรามีกลุ่มชาติพันธุ์ที่จัดอยู่ในกลุ่มสังคมล่าสัตว์และเก็บหาอาหารตามธรรมชาติอยู่ 3 กลุ่ม คือกลุ่มชาวเล (อูรักลาโว้ย มอแกลน มอแกน) อาศัยอยู่ทางภาตใต้ฝั่งทะเลอันดามัน..

มีคนกลุ่มอื่นในประเทศไทยที่เคยมีวิถีเก็บหาแบบดั้งเดิมแบบชาวเลหรือไม่? Read More / อ่านเพิ่ม

ชาวมอแกลนยังมีนิทานหรือตำานานเก่า ๆ เหลืออยู่บ้างหรือไม่?

กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้ว หลังเกิดภัยพิบัติมีแผ่นดินผุดขึ้นมาจากทะเล ชาวมอแกลนเรียกเกาะแห่งใหม่นี้ว่า “บุโล่ย”หรือที่แปลว่า “เหา” …

ชาวมอแกลนยังมีนิทานหรือตำานานเก่า ๆ เหลืออยู่บ้างหรือไม่? Read More / อ่านเพิ่ม

ทำไมชาวเลจึงไม่มีกรรมสิทธิ์ในที่ดินทั้งที่อยู่ริมทะเลมาเนิ่นนาน?

ชาวเลมีระบบคิดว่าทรัพยากร ไม่ว่าจะเป็นที่ดิน พื้นที่
ชายฝั่ง หาดทราย รวมทั้งทรัพยากรสัตว์น้ำในทะเลเป็นสิ่งที่ไม่มีใครเป็นเจ้าของ ทุกคนสามารถจะเข้าถึง
และใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ได้โดยหลักสิทธิชุมชนและการเอื้อเฟื้อต่อกัน การอยู่อาศัยและใช้พื้นที่สืบเนื่อง
มาก็น่าจะเป็นเครื่องรับรองสิทธิในตัวเองอยู่แล้ว….

ทำไมชาวเลจึงไม่มีกรรมสิทธิ์ในที่ดินทั้งที่อยู่ริมทะเลมาเนิ่นนาน? Read More / อ่านเพิ่ม

“บากัด”คืออะไรสำคัญต่อชาวอูรักลาโว้ยอย่างไร

เพิงพักอาศัยชั่วคราวแบบง่าย ๆ เพื่อหลับพักผ่อนและทำอาหาร มีการนำข้าวของเครื่องใช้ติดตัวไปเท่าที่จำเป็น อาทิ มีดพร้า ขวาน แห เบ็ด ฯลฯ ส่วนใหญ่สมาชิกในครอบครัวจะเดินทางไปด้วยกันทั้งหมด..

“บากัด”คืออะไรสำคัญต่อชาวอูรักลาโว้ยอย่างไร Read More / อ่านเพิ่ม

ดนตรีและเพลงของชาวมอแกน

เพลง ลูยู่ หรือ “ล่องทะเล” เป็นเพลงที่เล่าถึงการเดินทางของชาวมอแกนสมัยโบราณ ผ่านเกาะต่างๆในทะเลอันดามัน โดยเอ่ยชื่อเกาะไปทีละเกาะ จากเหนือลงใต้ และย้อนกลับขึ้นไปจากใต้ขึ้นเหนือ…

ดนตรีและเพลงของชาวมอแกน Read More / อ่านเพิ่ม

ชาวมอแกลนผู้กลมกลืนทางวัฒนธรรม

การติดต่อปฏิสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกับชุมชนอื่น ๆ มาแต่เนิ่นนาน ทำให้วัฒนธรรมขอชาวมอแกลนมีการผสมผสานไปอย่างมากเมื่อเทียบกับชาวมอแกนและอูรักลาโว้ย..

ชาวมอแกลนผู้กลมกลืนทางวัฒนธรรม Read More / อ่านเพิ่ม

ชาวมอแกลน เคยปลูกข้าวไร่

ช่วงต้นฤดูฝนคือประมาณเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน การปลูกข้าวไร่ใช้แรงคนล้วนๆ ไม่ต้องอาศัยแรงสัตว์แบบปลูกข้าวในนา ชาวมอแกลนและอูรักลาโว้ยจึงมีความผูกพันกับผืนดินและอยู่อาศัยติดที่ในบางช่วงเวลา…

ชาวมอแกลน เคยปลูกข้าวไร่ Read More / อ่านเพิ่ม

ชาวมอแกนหาทิศในการเดินเรือโดยการดูดาว

“ดาวศุกร์” หรือ “ดาวประจำเมือง” ซึ่งจะเห็นได้ชัดทางทิศตะวันตกในช่วงย่ำค่ำ และจะเห็นได้ชัดเจนอีกครั้งทางทิศตะวันออกในช่วงเช้ามืด ซึ่งในช่วงนี้เรามักจะเรียกดาวศุกร์ว่า“ดาวรุ่ง” หรือ “ดาวประกายพรึก” แต่ชาวมอแกนเรียกดาวนี้ด้วยชื่อเดียวคือ บีต้วก หน่าลู่ง ชาวมอแกนจะใช้ดาวดวงนี้เพื่อบอกเวลา…

ชาวมอแกนหาทิศในการเดินเรือโดยการดูดาว Read More / อ่านเพิ่ม